FEATURED

FEATUREDLatestReportages

เส้นทางมวยไทย ชีวิตที่น้อยคนจะถึงฝั่งฝัน

“ชก!!!!” สิ้นเสียงกรรมการ นักมวย 2 ฝ่ายโผเข้าใส่กันด้วยเหงื่อท่วมกาย ก่อนที่ฝ่ายน้ำเงินจะเหวี่ยงหมัดฮุคซ้ายเข้าปลายคางฝ่ายแดงอย่างเหมาะเหม็ง นักมวยฝ่ายแดงล้มกองกับพื้น ถือเป็นหมัดน็อคที่สวยงามท่ามกลางการชกอันดุเดือดที่สนามมวยสยามอ้อมน้อย ในช่วงต้นเดือนมีนาคม รอบเวทีรายล้อมด้วยเหล่าแฟนมวยที่ส่งเสียงเฮลั่นจนหลังคาอาคารสั่นสะเทือน ท่ามกลางเสียงตะโกนอันบ้าคลั่ง มือไม้ชูผลุบโผล่จากอัฒจันทร์ เป็นสัญลักษณ์สื่อสารของแต้มต่อในมวยแต่ละคู่ ธนบัตรสีแดงและม่วงถูกเปลี่ยนมืออย่างรวดเร็ว กระดาษตารางชกถูกจับแน่นจนยับย่นในมือของผู้ชม ยิ่งนักมวยมีชื่อเสียง เม็ดเงินหมุนเวียนยิ่งพลุ่นพล่านราวกับเลือดในกายที่ถูกสูบฉีดยามออกแรงวิ่ง จากนักชกสู่ผู้ฝึกสอน “ผมเริ่มชกมวยตอนอายุ 17

Read More
ArticlesFEATURED

Fake News Series | COVID-19 รัฐไทยแก้ปัญหา(?)เฟคนิวส์อย่างไร

ท่ามกลางฝุ่นตลบของข่าวปลอมหรือเฟคนิวส์ (fake news) ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัส  COVID-19 ซึ่งทำให้ภาคประชาชนเกิดความแตกตื่น โกลาหล หากมองในแง่หนึ่ง การเข้าควบคุมการเผยแพร่ข่าวปลอมผ่านกลไกรัฐ อย่างเช่นการตั้งศูนย์ต้านข่าวปลอม อาจมีความจำเป็น  แต่ในมุมมองของนักวิชาการ กลับเห็นว่าการทำเช่นนั้นสูญเปล่าและยังเป็นการตอกย้ำปัญหาในเชิงการเมือง โดย อ.วศิน ปั้นทอง อาจารย์ประจำคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้อธิบายไว้ดังนี้ รัฐพูดความจริงน้อยเกินไป 

Read More
ArticlesFEATURED

Fake News Series | บุหรี่ไฟฟ้า – ความจริงที่รัฐไทยไม่พูดถึง

หากพูดคำว่าข่าวปลอม (Fake News) เราคนไทยก็คงจะนึกถึงประเด็นเกี่ยวกับการเมือง ซึ่งเป็นที่พูดถึงกันอย่างร้อนแรงตั้งแต่ช่วงการอภิปรายไม่ไว้วางใจที่ผ่านมา แต่รู้หรือไม่ว่ายังมีอีกหลากหลายประเด็นที่ดุเดือดไม่แพ้กัน หนึ่งในนั้นคือเรื่องราวของบุหรี่ไฟฟ้า ที่แม้หลายประเทศทั่วโลกจะให้การยอมรับว่าคือนวัตกรรมที่ช่วยชีวิตผู้สูบบุหรี่ เพราะส่งผลกระทบต่อสุขภาพของผู้สูบและคนรอบข้างน้อยกว่ามากเมื่อเปรียบเทียบกับบุหรี่แบบดั้งเดิม แต่องค์กรภาครัฐและ NGOs (ซึ่งได้รับเงินสนับสนุนจากรัฐ) กลับแสดงออกว่าไม่คิดเช่นนั้น รู้จักบุหรี่ไฟฟ้า บุหรี่ไฟฟ้าถูกจำแนกออกเป็นสองกลุ่มใหญ่ คือ กลุ่มเวเปอไรเซอร์ (vaporizer)​ หรือที่เรียกกันว่าเวป (vape) 

Read More