กรุงเทพฯ

FEATUREDLatestReportages

COVID-19 : สภาวะขาดรายได้ ทำลายชีวิตคนจนเมือง

หลังจากสถานการณ์โรคระบาดโควิด-19 ที่ประเทศไทยต้องเผชิญมาเป็นระยะเวลา 1 ปีเศษ จนมีผู้ติดเชื้อสะสมมากกว่า 100,000 คน และมีผู้เสียชีวิตแล้วมากกว่า 500 คน (ข้อมูล ณ วันที่ 18 พฤษภาคม 2564) โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเขตกรุงเทพมหานคร ศูนย์กลางเศรษฐกิจของประเทศไทยที่การระบาดรอบใหม่ เพิ่มปริมาณผู้ติดเชื้อขึ้นอย่างรวดเร็ว ซึ่งตั้งแต่วันที่

Read More
FEATUREDLatestReportages

โควิด-19 ในคลองเตย: เมื่อรัฐขยับตัวช้าเกินไป 

การระบาดของไวรัสโควิด-19 ระลอกใหม่ตั้งแต่ปลายเดือนมีนาคม พ.ศ. 2564 ได้ส่งผลกระทบเป็นวงกว้างต่อผู้คนในสังคม ไม่ว่าจะยากดีมีจน รวยล้นฟ้าย่อมมีสิทธิติดเชื้อได้ทั้งสิ้น  แม้รัฐบาลจะพยายามบอกว่าทุกคนมีสิทธิได้รับการรักษาอย่างเท่าเทียมกัน แต่กระแสข่าวที่ออกมาตามหน้าสื่อกลับสวนทาง เมื่อผู้มีชื่อเสียงหรือเป็นที่รู้จักในสังคมได้ออกมาเผยแพร่เกี่ยวกับข้อมูลการติดเชื้อ ภาพที่เห็นนั้นคือการบริการจากทั้งทางภาครัฐและเอกชนที่พร้อม ทั้งการตรวจเชื้อ การรับตัวไปรักษา หรือว่าในส่วนของสถานรักษาพยาบาลที่มีความครบครัน แต่ประชาชนคนทั่วไป โดยเฉพาะประชาชนที่เปราะบางทางเศรษฐกิจกลับต้องเผชิญกับความยากลำบากในทุกขั้นตอน ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของการเข้าถึงบริการตรวจหาเชื้อไวรัสโควิด-19 ที่ราคาสูงเกินกว่าจะแบกรับต้นทุนได้ หรือต่อให้มีการบริการตรวจหาเชื้อฟรีก็มีจำนวนจำกัดจนเกิดการแย่งชิงสิทธิ การประสานงานที่เชื่องช้าระหว่างองค์กรที่มีหน้าที่ในการรับผู้ป่วยจากบ้านไปส่งที่โรงพยาบาล

Read More
FEATUREDReportages

กรุงเทพฯ ภายใต้วิกฤตโควิด-19

กว่าห้าเดือนแล้วที่ชีวิตในกรุงเทพมหานครได้รับผลกระทบจากการระบาดของโควิด-19 นับตั้งแต่มีการยืนยันผู้ป่วยรายแรกเมื่อวันที่ 13 มกราคม 2563 รัฐบาลประกาศใช้มาตรการต่างๆ เพื่อรับมือกับโรคระบาด ทำให้วิถีชีวิตของผู้คนในเมืองเปลี่ยนไป พ.ร.ก. ฉุกเฉินและเคอร์ฟิวถูกบังคับใช้ นักเรียนไม่สามารถไปโรงเรียน นักศึกษาต้องหยุดเรียนหรือเรียนออนไลน์ที่บ้าน ร้านสะดวกซื้อ ศูนย์การค้าและธุรกิจต่างๆ ถูกปิด บริการต่างๆ ถูกปรับเปลี่ยนรูปแบบ พนักงานบริษัทต้องทำงานที่บ้าน การใส่หน้ากากในที่สาธารณะเป็นสิ่งจำเป็น  Plus

Read More