Opinion

ArticlesFEATUREDLatestOpinion

รัฐไทยได้มาตรฐาน? : เปิดแนวทางสลายการชุมนุมระดับสากล

การชุมนุมประท้วงเป็นสิทธิขั้นพื้นฐานของประชาชนในประเทศที่เป็นประชาธิปไตย แม้ในหลายการชุมนุมอาจนำไปสู่ความรุนแรงตามวาระโอกาส แต่ไม่ได้ทำให้การชุมนุมหมดความชอบธรรมไปในทันที และหากมีความจำเป็นต้องสลายการชุมนุม การคงไว้ซึ่งรูปแบบที่ไม่ก่อให้เกิดการบาดเจ็บรุนแรง ดูจะเป็นตัวเลือกที่ได้รับการยอมรับมากกว่า เช่นนั้นการสลายการชุมนุมในช่วงปี 2563 ของสำนักงานตำรวจแห่งชาติที่ใช้น้ำผสมสารเคมีสีฟ้า (Methyl violet 2B) และน้ำที่ผสมแก๊สน้ำตาระดับเจือจางในการสลายการชุมนุม ล้วนเป็นหลักวิธีที่เป็นสากลดังที่สำนักงานตำรวจกล่าวอ้างหรือไม่ อาจต้องทำความเข้าใจในรายละเอียด โดย คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ หรือ OHCHR ได้วางแนวทางหรือหลักในการสลายการชุมนุมไว้ดังนี้

Read More
ArticlesOpinion

ร่อนหมายจับ โปรยหมายเรียก: ยุทธการเด็ดปีกผู้ชุมนุม

การชุมนุมปะทุขึ้นอย่างต่อเนื่องหลังรัฐบาลคลายล็อคดาวน์จากสถานการณ์โรคระบาด COVID-19 แม้รัฐบาลจะอ้างถึงการคง พ.ร.ก. การบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน แต่ท้ายที่สุดกลับถูกใช้ในคดีการเมืองอย่างต่อเนื่อง ไม่ว่าจะเป็นการออกหมายจับรวมกว่า 31 รายชื่อจากการชุมนุมหลายครั้งที่ผ่านมา โดย 15 รายแรกถูกหมายจับในหลายข้อหา ได้แก่ 1. กระทําให้ปรากฏแก่ประชาชนด้วยวาจา หนังสือหรือวิธีอื่นใดอัน มิใช่เป็นการกระทําภายในความมุ่งหมายแห่งรัฐธรรมนูญ หรือมิใช่เพื่อแสดงความคิดเห็นหรือติชมโดยสุจริต เพื่อให้เกิดความปั่นป่วนหรือกระด้างกระเดื่องในหมู่ประชาชนถึงขนาดที่จะก่อ ความไม่สงบขึ้นในราชอาณาจักร

Read More
ArticlesOpinion

Opinion: สิ่งแวดล้อมกับไวรัสโคโรนา 2019

โดย ประภัสสร ทองยินดี ก่อนการระบาดของไวรัสโคโรนา 2019 หลายประเทศทั่วโลกล้วนต้องเผชิญกับปัญหาสิ่งแวดล้อม ไม่ว่าจะเป็นความเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติ มลพิษทางอากาศ ภาวะโลกร้อน การเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิศาสตร์ (Climate Change) ก๊าซเรือนกระจก ฯลฯ ซึ่งที่มาและสาเหตุหลักของปัญหาสิ่งแวดล้อมเหล่านี้เกิดจากการดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจของมนุษย์ สอดคล้องกับบทความของ Connected & autonomous vehicles

Read More